แนวทางการกินอาหารแบบ Plant-Based นั้นเกิดขึ้นมาเป็น “การกินเพื่อสุขภาพ” โดยเฉพาะ เมื่อบริโภคพืชผักและผลไม้ในสัดส่วนที่มากขึ้นก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพได้ในหลากหลายทางด้วยกัน...
Plant-Based ประกอบด้วยผลไม้ ผัก ธัญพืชเต็มเมล็ด พืชตระกูลถั่ว สมุนไพร และเครื่องเทศที่ผ่านกระบวนการน้อยที่สุด ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องยากหากอยากกินอาหาร Plant-Based...
ก้าวยิ่งใหญ่ในวงการกินพืชผักเริ่มต้นในปี ค.ศ.1944 เมื่อโดนัลด์ วัตสัน ผู้สนับสนุนสิทธิสัตว์ชาวอังกฤษและผู้ก่อตั้ง The Vegan Society ได้ก่อกำเนิดคำว่า “มังสวิรัติ” (Vegan) ขึ้นมาเพื่อนิยามถึงผู้ปฏิเสธการหาผลประโยชน์จากสัตว์ทุกรูปแบ...
“กุ้ง” ทำอย่างไรให้อร่อย แม้เป็นหนึ่งในอาหารทะเลยอดนิยมของคนรักซีฟู้ด และถูกนำมาเป็นวัตถุดิบและส่วนสผมในจานโปรดของผู้คนทั่วโลก รวมทั้งคนไทยบ้านเราที่มีความนิยมกินกุ้งไม่แพ้ใคร แต่เชื่อว่าหลายๆ คน...
หากไม่นับอาหารแสนเบสิกที่เรากินในชีวิตประจำวันหรือเมนูโปรดในร้านอาหารตามสั่งเจ้าประจำ อาทิ ผัดกะเพรากุ้ง ผัดไทยกุ้งสด หรือข้าวผัดกุ้งที่มักใช้ “กุ้งขาว” (Fresh White Shrimp) หรือ “กุ้งแวนนาไม” (Vannamei) กุ้งน้ำเค็ม...
เรื่องน่ารู้ในตอนนี้ (และอนาคต) เชฟขนมอบชาวฝรั่งเศสรุ่นใหม่หลายคนเริ่มหันมาสนใจเรื่องผลผลิตในท้องถิ่นและผลไม้ตามฤดูกาลมากขึ้น ด้วยแนวคิดความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงการใช้วัตถุดิบทุกส่วนให้คุ้มค่าที่สุด...
ในช่วงระยะเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมานี้ ครัวซองต์กลายเป็นเทรนด์ของกินที่ฮอตฮิตติดลมบนที่สุด ทั้งที่เมื่อหลายสิบปีที่ผ่านมามักจะเป็นเพียงอาหารมื้อเช้าที่อยู่ตามโรงแรมเสียมากกว่า...
ถึงแม้จะไม่มีประสบการณ์ก็สามารถเรียนที่นี่และกลายเป็นมืออาชีพได้ โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จะพาผู้เรียนไปเริ่มต้นตั้งแต่พื้นฐานสุดสู่การรังสรรค์สุดยอดขนมอบ นำเสนอผ่านโครงสร้างหลักสูตร 3 ขั้นด้วยกัน...
เราถามเชฟเฟรดเดอริค เลอกราส์ เชฟโทมัส อัลเบิร์ต เชฟมาร์ก ราซูเรล เชฟนิรัช โชติวัชร เชฟผู้สอนประจำหลักสูตรประกาศนียบัตร5การประกอบขนมอบ (Pâtisserie Programme) และเชฟดาเมียน เลียน...
ภาษาฝรั่งเศสทั้ง 2 คำนี้ปรากฏให้เห็นตามป้ายหน้าร้านขนมหวานและร้านเบเกอรี่อยู่บ่อยครั้งแม้เดินเข้าไปแล้วจะได้เห็นภาพน่าตื่นตาตื่นใจพร้อมกลิ่นหอมๆ เหมือนกัน แต่คำ 2 คำนี้กลับแตกต่างไปอย่างสิ้นเชิง “Pâtisserie”...
ไม่เพียงความเป็นมาอันยาวนานหลายร้อยปีเท่านั้น อีกหนึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้อาหารว่างของไทยมีเสน่ห์ดึงดูดใจและได้รับความนิยมเสมอมาคือ หน้าตารูปลักษณ์ที่สวยงามวิจิตรบรรจงซึ่งผ่านการปรุงอย่างประณีตและพิถีพิถัน...
หลังจากเราได้เห็นการกลับมาได้รับความนิยมของอาหารไทยหลากหลายสไตล์ ทั้งอาหารไทยดั้งเดิม ขนมไทยที่หากินยาก ไปจนถึงอาหารไทยพื้นถิ่นที่หลายคนคุ้นเคยกันมากขึ้นในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา...
ในวันพาสตาโลกเมื่อปี ค.ศ. 2019 ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารได้แบ่งปันความคิดว่าเราจะกินพาสตากันแบบไหนในอีก 30 ปีข้างหน้า?...
ในเมื่อเส้นสดและเส้นแห้งมีข้อดีที่ต่างกัน แล้วพาสตาที่ดีต้องมีอะไร? ตอบได้ไม่ยากเพราะมีเพียง 2 อย่างคือเส้นและซอสที่หลากหลายจนนับไม่ไหว องค์ประกอบหลักทั้ง 2 สิ่งนี้ก่อให้เกิดศิลปะ...
แม้ว่าอิตาลีจะเป็นดินแดนต้นตำรับของพาสตา แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าพวกเขาจะลงมือผสม นวด แล้วรีดแป้งออกมาเป็นเส้นด้วยตัวเองทุกมื้อ ในวันธรรมดาที่ทุกคนเหน็ดเหนื่อยจากการทำงานมาทั้งวัน...
ตำนานที่มีชื่อเสียงที่สุดคือการเดินทางของมาร์โค โปโล (Marco Polo) นักสำรวจในศตวรรษที่ 13 เขานำเส้นบะหมี่จากประเทศจีนไปเผยแพร่สู่อิตาลี แต่ก็มีทฤษฎีแย้งว่าเขาบันทึกถึงพืชชนิดหนึ่ง...
พาสตาเดินทางออกนอกอิตาลีในช่วงศตวรรษที่ 20 ผู้อพยพชาวอิตาลีจำนวนมากละทิ้งบ้านเกิดหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มาตั้งรกรากที่ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา จนถือกำเนิดเป็นอาหารสไตล์อิตาเลียน-อเมริกัน...
หากการทำอาหารเป็นพรสวรรค์ที่อยู่ในดีเอ็นเอของคนอิตาลีทุกคน พาสตาก็คงจะเป็นเหมือนเส้นเลือดใหญ่ที่มีบทบาทสำคัญในทุกช่วงชีวิต...
แม้จะผ่านวิกฤติการณ์มากมายขนาดไหน แต่เมืองหลวงแห่งอาหารการกินอย่าง “กรุงเทพมหานคร” ก็ไม่เคยหลับใหล (ได้นาน) หากยิ่งทวีความน่าสนใจและความหลากหลายดึงดูดเหล่านักชิมตลอดมา...
ไม่ว่าจะอยู่ในมุมไหนของโลกฤดูร้อนย่อมเวียนกลับมาเยือนเราเสมอ แน่นอนว่าคนเมืองร้อนอย่างเราต้องมองหาของกินเย็นๆ เพื่อช่วยดับร้อน แต่เมื่อพูดถึงไลฟ์สไตล์ของคนประเทศเมืองหนาวแล้วก็แทบขมวดคิ้วเป็นรูปโบ....